top of page
PHYSICAL THERAPY
HOME SERVICE
LACTATION MASSAGE
CLINIC & HOME
PHYSICAL THERAPY
CLINIC

พร้อมฟิสิโอ คลินิกกายภาพบำบัด

พร้อมฟิสิโอ เราพร้อมดูแล
ทั้งที่คลินิกและที่บ้านท่าน

บริหารงานและให้การรักษาโดย

นักกายภาพบำบัดวิชาชีพ

ประสบการณ์การทำงานกว่า 20 ปี

ให้บริการรักษาอาการปวด

ปวดกล้ามเนื้อ ออฟฟิศซินโดรม

ข้อเข่าเสื่อม กระดูกสันหลังเสื่อม

อาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

ฟื้นฟูผู้ป่วยอ่อนแรง อัมพฤกษ์

กระตุ้นเปิดท่อน้ำนมให้กับคุณแม่ที่มีท่อน้ำนมอุดตัน 

รักษาและฟื้นฟูด้วยครื่องมือทางกายภาพบำบัดที่หลายหลายและทันสมัย ปลอดภัย ได้มาตรฐานระดับโรงพยาบาล

ตรวจประเมิน วินิจฉัย เน้นให้การรักษาที่ต้นตอของปัญหา 

นักกายภาพบำบัดมีการเข้ารับการอบรมอัพเดทความรู้อยู่เสมอ

Your paragraph text (18).png
Cer-นวดนม.jpg
ปรึกษานักกายภาพบำบัด 
About Us
Your paragraph text (11).png

Promotion

พร้อมฟิสิโอ พร้อมรักษาอาการปวด อาการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

ปวดข้อศอก ข้อเท้าพลิก ข้อเท้าแพลง

โปรโมชั่นพิเศษ !!

รักษาด้วยคลื่นอัลตร้าซาวด์ เลเซอร์ ประคบอุ่น ยืดกล้ามเนื้อ

ปกติครั้งละ 1,550 บาท ต่อพื้นที่/ครั้ง

ลดเหลือเพียง 850 บาท

ปรึกษาอาการปวด ฟรี!!

097-691-6665

บริการกายภาพบำบัด
ที่คลินิก และ ที่บ้านท่าน

Untitled design (11).png

รักษาอาการปวดด้วยเทคโนโลยี คลื่นช็อคเวฟ เลเซอร์ อัลตร้าซาวด์

ปวดกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อต่อ ปวดคอ ปวดหลัง ออฟฟิศซินโดรม

ไหล่ติด เข่าเสื่อม รองช้ำ บาดเจ็บจากการเล่นกีฬา

ฟื้นฟูอาการอ่อนแรง.png

ฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อ่อนแรงแขน-ขา นั่งทรงตัวไม่ได้ เดินเองลำบาก

ยืดเหยียดข่อต่อ กระตุ้นการออกแรงแขน-ขา

ฝึกการทรงตัวในท่านั่ง ท่ายืน และฝึกเดิน

ฟื้นฟูอาการอ่อนแรง (1).png

เปิดท่อน้ำนมคุณแม่ที่มีน้ำนมน้อย ลดอาการเจ็บคัด ช่วยให้มีน้ำนมพอให้ลูก ปั๊มนมออกง่ายสบายๆ ด้วยการนวดเคลียร์เต้าเทคนิคพิเศษ

กระตุ้นด้วยคลื่นอัลตร้าซาวน์ ประคบอุ่น สอนบีบมือและปั๊มนม

PROMPT Cover (5).png
Our Services

บทความ

ภาวะท่อน้ำนมอุดตัน (BLOCKED MILK DUCTS)

         เกิดจากการไหลเวียนของน้ำนมภายในท่อไม่ดี เมื่อมีการสร้างน้ำนมปริมาณมากขึ้นจะทําให้เกิดแรงดันภายในท่อ            น้ำนมสูง น้ำนมจับตัวเป็นก้อนหรือทําให้คุณแม่รู้สึกไม่สบาย เจ็บตึง เต้านมคัด มีน้ำนมน้อย

เต้านมคัดตึง มักเกิดในวันที่ 3 - 5 หลังคลอด เกิดจากการปรับเปลี่ยนของฮอร์โมน ทำให้มีน้ำนมอยู่ภายในท่อน้ำนมจำนวนมากร่วมกับ มีเลือดและน้ำเหลืองมาคั่งอยู่บริเวณเต้านมจำนวนมาก  ทำให้เต้านมมีขนาดใหญ่ขึ้น  ตึง บวม เจ็บ จึงทำให้น้ำนมไหลออกไม่ค่อยดี

วิธีการดูแลตัวเองเบื้องต้น
1. ประคบร้อนด้วยผ้าชุบน้ำอุ่น พันโดยรอบเต้านมก่อนให้นมลูก จะช่วยให้ น้ำนมจะไหลได้ดีขึ้น โดยใช้เวลาในการประคบประมาณ 5 -10 นาที
2. นวดเต้านมเบาๆ ขณะที่ลูกดูดนม จะทำให้มารดารู้สึกผ่อนคลาย และช่วยกระตุ้นทำให้น้ำนมไหลได้ดีขึ้น

หากอาการยังไม่ดีขึ้นแนะนำการนวดเปิดท่อน้ำนมโดยนักกายภาพบำบัดนะคะ

พร้อมฟิสิโอ คลินิกกายภาพบำบัด บริการนวดเปิดท่อน้ำนมที่บ้านท่าน ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล

#นวดเปิดท่อน้ำนมใกล้ฉัน 

Our Dentists
ออฟฟิศซินโดรม
(Office syndrome)

                                         

         หากเมื่อก่อนท่านเคยทำงานกระฉับกระเฉง ว่องไว วันนี้มีแต่ความปวดเมื่อย ทำงานไม่ไหว ทำงานได้น้อยลงเนื่องจากอาการปวดคอ ปวดหลัง อาจเกิดจากการนั่งทำงานต่อเนื่องเป็นเวลานาน เริ่มมีความผิดปกติทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อเกิดขึ้น
         การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อเป็นประจำสม่ำเสมอ สามารถลดความเสี่ยงต่อการปวดคอ บ่า และหลังได้ แต่ถ้าเรื้อรังควรต้องทำกายภาพบำบัดนะคะ

วิธีการรักษาทางกายภาพบำบัด
1. ประคบอุ่น เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของกล้ามเนื้อส่วนตื้น
2. อัลตร้าซาวด์ เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของกล้ามเนื้อส่วนลึก ช่วยคลายกล้ามเนื้อ
3. ช็อคเวฟ เพื่อคลายกล้ามเนื้อเฉพาะจุดที่ยังคงตึงตัวอยู่มาก (จุด Trigger point)
4. ยืดกล้ามเนื้อ และออกกำลังกายกล้ามเนื้อเฉพาะมัด

การทำกายภาพบำบัด หากมีอาการเรื้อรังมานานแนะนำให้ทำต่อเนื่องนะคะ

Untitled design (3).jpg
อัมพฤกษ์ครึ่งซีก (Hemiparesis)

         

         การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพฤกษ์ครึ่งซีกหลังออกจากโรงพยาบาล 
         
          อัมพฤกษ์ครึ่งซีก เกิดจากโรคทางหลอดเลือดสมอง หรือ stroke เราแบ่งเป็นสองกลุ่มหลัก คือหลอดเลือดสมองตีบ และหลอดเลือดสมองแตก การดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ ครึ่งซีกหลังกลับบ้านโดยทั่วไปจะคล้ายๆกัน มีรายละเอียดปลีกย่อยต่างบ้างเล็กน้อยตามความรุนแรงของอาการ 

วิธีการฟื้นฟูที่บ้านเบื้องต้น แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
1. ผู้ป่วยที่อ่อนแรงไม่มาก การสอนออกกำลังกายทางกายภาพบำบัด และฝึกการทรงตัวเพียงเล็กน้อยก็สามารถเดินได้อย่างมั่นคง ด้วยการเคลื่อนไหวข้อต่อให้ก่อน หลังจากนั้นให้คนไข้ออกแรงข้างปกติในท่าที่ทำให้ และสุดท้ายช่วยกระตุ้นให้คนไข้ออกแรงข้างที่อ่อนแรงในท่าเดียวกัน การทรงตัวจะฝึกในท่านั่งแบบไม่พิงพนัก การยืนด้วยแรงช่วยจากญาติหรืออุปกรณ์ช่วย และยืนด้วยตัวเอง ตามลำดับ

2. ผู้ป่วยที่อ่อนแรงค่อนข้างเยอะ ต้องใช้เวลาในการฝึกทรงตัวฝึกยืน ฝึกเดิน  และจำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ช่วยเดินก่อนในช่วงแรก และแนะนำให้ฝึกโดยนักกายภาพบำบัดวิชาชีพ เพื่อความปลอดภัย ป้องกันการล้ม

การออกกำลังกายในช่วง 4-6 เดือนแรก ควรทำเป็นประจำทุกวันนะคะ
​​

Your paragraph text (12).png

รีวิวความประทับใจจากลูกค้า

1734431552674.jpg
Your paragraph text (8).png
1734431554286.jpg
1737886035317.jpg
ดูรีวิวเพิ่มเติม
facebook-512.webp
Success Stories

ติดต่อเรา

ปรึกษาอาการเบื้องต้น
Our Address

179/85 ถนน นาวงประชาพัฒนา ดอนเมือง กทม.

097-691-6665

Opening Hours

จันทร์ - ศุกร์ 10.00 - 20.00 น.

เสาร์ - อาทิตย์ 10.00 - 17.00 น.

ไม่เว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์

 

Contact Us
bottom of page